HomeTCASรวมเทคนิคทำข้อสอบเคมีฉบับไฟลุก อ่านน้อยได้คะเเนนมาก 50 วันสุดท้ายก่อนสอบ PAT2

รวมเทคนิคทำข้อสอบเคมีฉบับไฟลุก อ่านน้อยได้คะเเนนมาก 50 วันสุดท้ายก่อนสอบ PAT2

สวัสดีค่าปีใหม่ 2563 ค่า ^^ ขอให้น้องๆ ม.6 ทุกคนสอบติดในคณะเเละมหาลัยที่อยากเข้ากันนะคะ เเละโค้งสุดท้ายเเบบนี้วันนี้พี่มุกก็เลยมีรวมเทคนิคการทำสอบเคมีฉบับไฟลุกจากอ.เต้ Dek-D School มาฝากน้องๆ เป็นของขวัญปีใหม่ค่ะ บอกเลยว่าไม่รู้ไม่ได้เเล้วน้าเพราะสรุปเน้นหาเเน่น + ตัวอย่างข้อสอบ จัดเต็มเเบบนี้มีเเค่ที่ Dek-D School นะคะ ^^ 

มาเริ่มกันที่การวิเคราะห์ข้อสอบ PAT2 เคมีกันก่อนว่าบทไหนออกบ่อย ออกทุกปี ออกกี่ข้อ โดยดูจากเเผนภาพนี้เลยค่า 

ถึงจะมีเเค่ 5 บทที่ออกบ่อบเเต่ก็เป็นบทใหญ่ๆ ทั้งนั้นเลยต้องเเบ่งสรุปให้เป็น 2 part โดยวันนี้ Part 1 จะเป็นบทปริมาณสารสัมพันธ์เเละพันธะเคมีค่ะ 

เริ่มกันที่การเปลี่ยนหน่วยของพันธะเคมีที่ไม่ว่าจะกี่ปีก็ต้องออกเสมอค่า มาดูสรุปกันเลย 

การเปลี่ยนหน่วยในปริมาณสารสัมพันธ์

เเละที่น้องๆ มักพลาดกันคือลืมดุลสมการเคมีนั้นเอง ห้ามลืมนะคะว่าถ้าเห็นสมการเคมีให้เช็คก่อนเลยว่าสมการดุลรึยัง ? เเล้วถึงจะเริ่มต้นคำนวณค่า ^^ 

การดุลสมการเคมี

มาลองฝึกทำโจทย์กันค่ะ อ.เต้ฝากทริคเล็กๆ น้อยๆ มาให้ด้วยลองไปดูกันเลยจ้า 

เฉลยโจทย์ ปริมาณสารสัมพันธ์

ปริมาณสารสัมพันธ์ยังไม่จบนะคะยังมีการหาความเข้มข้นที่ชอบออกข้อสอบซ่อนอยู่ในบทนี้ด้วยไปดูสรุปกันเลย 

การหาความเข้มข้นของสารละลาย

สูตรไม่เยอะเเล้วใช้จริงก็ไม่ยากดูค่ะเเทนค่าตรงไปตรงมาได้เลย เเต่ !!! ต้องระวังเรืองหน่วยเเละดูให้ดีว่าสารไหนคือตัวทำละลายเเละตัวถูกละลายน้า 

เฉลยโจทย์ ความเข้มข้นของสารละลาย

ยังอยู่กันที่ปริมาณสารสัมพันธ์นะคะเเต่เปลี่ยนเรื่องมาเป็นสมบัติคอลิเกทีฟซึ่งเกี่ยวกับการหาจุดเดือด จุดเยือกเเข็ง มาดูสูตรกันเลย 

สมบัติคอลิเกทีฟ

สูตรสมบัติคอลิเกทีฟง่ายๆ มีเเค่สองสูตรค่ะการเเทนค่าก็ไม่ซับซ้อนถ้าไม่เชื่อลองมาทำโจทย์ไปพร้อมๆ กันเลย 

เฉลยโจทย์ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติคอลิเกทีฟ

จบเเล้วกับปริมาณสารสัมพันธ์ที่ออกสอบบ่อยใน PAT2 ต่อไปเป็นพันธะเคมีที่บอกเลยว่าเยอะเเละยากกว่าปริมาณสารอีกเเต่ !!! อ.เต้ก็สรุปเเบบกระชับ เข้าใจง่าย เนื้อหาครบ เรียกได้ว่าย่อมาให้น้องๆ อย่างดีที่สุดพร้อมสอบเเน่นอนค่า ไปดูกันเลย 

ชนิดของพันธะเคมี

เริ่มกันที่พันธะภายในโมเลกุล พันธะเเรกคือ พันธะโลหะ 

พันธะโลหะ

พันธะไอออนิก เป็นพันธะที่เกิดจากอะตอม โลหะ + อโลหะโดยมีคุณสมบัติของพันธะดังนี้ 

พันธะไอออนิก

ในบรรดาพันธะเคมีทั้งหมด พันธะไอออนิคถือเป็นจุดที่ข้อสอบชอบถามมากที่สุด ลองมาดูกันว่าก็สอบถามอะไรได้บ้าง ? เเละมีเทคนิคการตัดตัวเลือกเเบบไม่ต้องคำนวณยังไง ? 

พันธะไอออนิก

มาต่อกันที่พันธะโควาเลนต์กันเลยจ้า 

พันธะโควาเลนต์

ยังไม่จบเเค่นี้ค่ะ พี่มุกเชื่อว่าเรื่องที่น้องๆ สับสนกันเยอะที่สุดของพันธะโคเวเลนต์นั่นก็คือเรื่องรูปร่างพันธะ ซึ่งรูปร่างพันธะนั้นก็ขึ้นอยู่กับชนิดของอะตอมที่เป็นอะตอมกลางเเละการมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดียวเหลืออยู่ในโมเลกุล (ซึ่งอาจจะมีหรือไม่มีก็ได้) เพื่อให้เข้าใจมากยิ่งขึ้นไปดูตารางสรุปกันเลย

รูปร่างของโมเลกุล ในพันธะโควาเลนต์

จบพันธะภายในโมเลกุลไปเเล้วต่อไปเป็นพันธะระหว่างโมเลกุลมี 2 เเบบดังนี้

1พันธะไฮโดรเจน เป็นพันธะที่เเข็งเเรงที่สุดในบรรดาพันธะเคมีทั้งหมด 

พันธะไฮโดรเจน

2. เเรงเเวนเดอร์วาลส์ ซึ่งประกอบด้วยเเรงต่างๆ ดังนี้

แรงแวนเดอร์วาลส์

มาทำโจทย์กัน..

โจทย์ถามว่าอะตอมใดไม่ได้เกิดพันธะโคเวเลนต์ซึ่งหลักการก็ง่ายมากเเค่น้องๆ รู้ว่าพันธะโคเวเลนต์เกิดพันธะเเบบไหนก็ตัดตัวเลือกเเล้วตอบได้เเล้วค่ะ 

พันธะโควาเลนต์

จบเเล้วจ้า !!!! เเต่จบเเค่ Part 1 นะคะอาทิตย์หน้าพี่มุกจะนำทริคอ.เต้ ฝากมากับบทที่เหลือมาให้น้องๆ กันอีกระหว่างนี้ก็ลองนำเทนนิคในวันนี้ไปใช้ฝึกทำโจทย์ดูเพี่มุกเชื่อว่าน้องๆ จะได้คะเเนนเพิ่มขึ้นอีกเเน่นอน อ.เต้ฝากเคล็ดลับของการเรียนเคมีให้เก่งนั้นคือสังเกตุเเละวิเคราะห์โจทย์ค่ะว่าโจทย์ให้อะไรมา ถามอะไร ใช้ความรู้เรื่องไหนได้บ้างเเค่นี้น้องๆ ก็เก่งเคมีได้เเล้ว

เเละเหมือนเดิมเลยถ้าน้องๆ คนไหนที่มีคำถามสามารถมาพูดคุยกันได้ที่ Facebook Dek-D School หรือ Line @schooldekd ส่วนน้องๆ ที่ต้องการเตรียมตัวสำหรับการสอบ TCAS สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและสมัครเรียนได้ที่คอร์ส พิชิต TCAS เคมีครบทุกบท หรือ พิชิต TCAS เคมี เเบบรายบท สอนโดยดร.โรจน์ฤทธิ์ โรจนธเนศ (อ.เต้) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โอกาสที่จะได้เรียนกับตัวจริงด้านเคมีแบบนี้มีไม่บ่อยห้ามพลาดนะคะ ^^

RELATED ARTICLES
- Advertisment -

Most Popular

Recent Comments