การเกิดภาพ ของเลนส์เป็นอีกเรื่องที่ออกข้อสอบบ่อยมากๆ และออกสอบไม่ยากด้วย ด้วยเนื้อหาที่ไม่ซับซ้อน มีสูตรไม่เยอะ แทนค่าได้ง่าย
เลนส์เว้า คือเลนส์ที่มีลักษณะบางตรงกลางและหนาที่ขอบ แสงที่ผ่านเลนส์เว้าจะกระจายออกจากจุดโฟกัส เกิดภาพเสมือนได้อย่างเดียวและขนาดภาพจะเล็กกว่าวัตถุ เลนส์เว้านำมาใช้ประโยชน์กับแว่นตาคนสายตาสั้น
เลนส์นูน คือเลนส์ที่มีลักษณะหนาตรงกลางและบางที่ขอบ แสงที่ผ่านเลนส์นูนจะรวมกันเป็นจุดเดียวที่จุดโฟกัส สามารถเกิดภาพจริงหรือภาพเสมือนได้ เลนส์นูนนำมาใช้ประโยชน์กับแว่นตาของคนสายตายาว, แว่นขยาย, กล้องจุลทรรศน์
สูตรที่ใช้ในการคำนวณ
f = ความยาวโฟกัส (f เลนส์นูน +, เลนส์เว้า -)
s = ระยะวัตถุ (ภาพจริง +, ภาพเสมือน -)
s′ = ระยะภาพ (ภาพจริง +, ภาพเสมือน -)
m = กำลังขยาย
h′ = ขนาดภาพ
h = ขนาดวัตถุ
น้องๆ สามารถอ่านรายละเอียดเกี่ยวกับสูตรการคำนวณ และตัวอย่างโจทย์เรื่องเลนส์เพิ่มเติมได้เลยที่ คลิก
เตรียมความพร้อมก่อนสอบฟิสิกส์ กับคอร์สพิชิต TCAS ฟิสิกส์ ที่สอนโดย อ.หลิน อาจารย์ประจำภาควิชาฟิสิกส์ จุฬาฯ ภายในคอร์สจะมีสรุปเนื้อหาฟิสิกส์ ม.ปลาย 3 ปี ครบถ้วนตามหลักสูตร สสวท. และตะลุยโจทย์แบบจัดเต็มมากกว่า 700 ข้อ พร้อมทั้งตัวอย่างโจทย์ประยุกต์ และมีแบบทดสอบเพื่อประเมินความเข้าใจของน้องๆ ก่อนสอบจริง จะได้ไม่พลาดเวลาทำข้อสอบ สนใจคอร์สคลิกดูรายละเอียดที่กล่องด้านล่างเลย
ทดลองเรียนฟรี TCAS ทั้ง 7 วิชาได้เลยที่คอร์สนี้
ติดตามข่าวสารการเตรียมตัวสอบ และสอบถามเพิ่มเติมได้เลยที่ Line @schooldekd และติดตามข่าวสารการเตรียมตัวสอบได้ที่ช่องทางต่างๆ ต่อไปนี้ คลิกเลย